Error
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1

     ตัวแปร หรือ Variable เอาไว้ทำอะไร มาเรียนรู้ตัวแปรชนิดต่างๆ ในภาษา php กันครับ

     หน้าที่ ของตัวแปรในการเขียนโปรแกรมคือเอาไว้ในการเก็บข้อมูลหรือพักข้อมูล ก่อนที่นำข้อมูลไปใช้งานคำนวณ หรือก่อนทำการแสดงผล ซึ่งตัวแปรก็จะมีด้วยกันหลายประเภท (Type) เช่น String, Integer, Boolean, Float เป็นต้น แต่ละประเภทก็จะใช้เก็บข้อมูลที่แตกต่างกันออกไป

ตัวแปรชนิดต่างๆ ในภาษา php สามารถดูได้จากตารางด้านล่างได้เลยครับ

ชนิดของตัวแปร ค่าของข้อมูล
boolean มีค่าเป็น true หรือ false
integer ใช้เก็บข้อมูบที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม ไม่ว่าจะเป็น ฐานสิบ ฐานแปด(ขึ้นต้นด้วย 0) หรือแม้แต่ฐานสิบหก(ขึ้นต้นด้วย 0x)
float ใช้เก็บค่าที่เป็นตัวเลขทศนิยม เช่น 1.2 หรือ 234.456 เป็นต้น
string ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรต่างๆ รวมถึงตัวเลข สัญลักษณ์ต่างๆ
array ชุดของข้อมูลที่ถูกนำมาเรียงต่อกัน โดยมี index เป็นตัวอ้างถึงข้อมูลแต่ละตัวที่อยู่ใน อาเรย์นั้นๆ
object คือตัวแปรชนิดนึงเกิดจากการสร้าง instantiate ของคลาส
resource เป็นข้อมูลชนิดพิเศษใช้อ้างอิงถึงทรัพยาการภายนอก
NULL ค่าว่างเกิดจากตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดค่า,กำหนดค่าเป็น NULL หรือถูก unset()

      การตั้งชื่อตัวแปร

     การตั้งชื่อตัวแปรในภาษา PHP นั้นก็มีข้อกำหนดคล้ายกับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ คือ

  • ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $
  • ชื่อตัวแรกต้องเป็นตัวอักษร หรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น ห้ามใช้ตัวเลขนำหน้าชื่อ เช่น $var1, $_var1, $_12
  • ตัวอักษรตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความหมายแตกต่างกัน (case-sensitive) เช่น $id กับ $Id ถือว่าเป็นคนละตัวกัน
  • ห้ามใช้คำสงวนหรือ reserv word

    การกำหนดชนิด (Type) ของตัวแปร

     โดยปกติแล้วภาษา PHP ไม่จำเป็นที่จะต้องระบุชนิดของตัวแปร ชนิดของตัวแปรจะถูกพิจารณาจากค่าที่่กำหนดให้กับตัวแปรขณะที่รันโปรแกรมนั้นเอง ดังตัวอย่าง

<?php
  $var1 = "กำหนดเป็น string";
  $var2 = 100;
  $var3 = 12.23;
?>

     จากตัวอย่างเรากำหนดตัวแปร $var1 เป็น string $var2 เป็น integer และ $var3 เป็น float จากนั้นให้ทำการ save ไฟล์ ยังไม่ต้องรันทดสอบนะครับ เพราะยังไม่เห็นผลอะไรอยู่ดี จากนั้นทำการเพิ่มคำสั่งอีกบรรทัด คือ echo gettype($var1); จะได้โค้ดทั้งหมดเป็น

<?php
  $var1 = "กำหนดเป็น string";
  $var2 = 100;
  $var3 = 12.23;  
  echo gettype($var1);
?>

     แล้ว save ไฟล์อีกครั้ง จากนั้นรันโปรแกรมทดสอบ ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงคำว่า string ดังภาพ

ตัวแปรใน php

     ซึ่งคำสั่ง gettype() จะใช้ในการตรวจสอบชนิดของตัวแปร ซึ่งตัวแปร $var1 ข้อมูลที่เรากำหนดให้เป็นข้อความหรือ string จริงแสดงค่าเป็น string ออกมา จากนั้นให้ลองทำเช่นเดียวกับตัวแปรอีกสองตัวที่แหละครับว่าจะได้ข้อความว่าอย่างไร

    เราจะเห็นได้ว่าไม่จำเป็นต้องกำหนดชนิดให้กับตัวแปรในภาษา PHP เลย แต่ถ้าหากว่าจำเป็นต้องกำหนดชนิดให้กับตัวแปรละต้องทำอย่างไรละ ให้ใช้คำสั่งแบบนี้ครับ

<?php
  $var1 = (integer)12.444;
  echo gettype($var1);
  echo "<br/>";
  echo $var1;

?>

     จากคำสั่งข้างบน $var1 = (integer) เรากำหนดชนิดของตัวแปรให้กับ $var1 เป็น integer โดยกำหนดไว้ในวงเล็บ ส่วน 12.444 คือค่าที่เรากำหนดให้กับตัวแปร $var1 แต่ค่าที่เรากำหนดให้นั้นกลับเป็นทศนิยมหรือ float อ้าวแล้วตกลงยังไงต่อละทีนี้ เรามารันทดสอบกันเลยครับว่าจะเป็นอย่างไร

ตัวแปรใน php ทดสอบ integer

     ผลที่ได้มีสองบรรทัดนะครับ คือเราตรวจสอบชนิดของตัวแปรก่อน ได้ออกมาเป็น integer ครับ ตรงตามที่เรากำหนด ส่วนอีกบรรทัดนั้น เราได้ echo ค่าของตัวแปรออกมา ซึ่งผลที่ได้คือ 12 เป็นผลมาจากเรากำหนดชนิดเป็น integer ทำให้ $var1 สามารถเก็บค่าได้แค่จำนวเต็มหรือ integer เท่านั้น

     สำหรับเรื่องราวของตัวแปรในภาษา PHP ผมก็ขอพักไว้เพียงแค่นี้ก่อนครับ ขอบคุณที่เข้ามาเยี่ยมชม สวัสดีครับ