Error
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1

     ผู้ที่ให้กำเนิด PHP คือ Rasmus Lerdorf โดยเริ่มต้นเค้าทำโฮมเพจส่วนตัว มีการใช้สคริปต์ Perl CGI เพื่อเก็บข้อมูลผู้เข้าเยี่ยมชม แต่เค้าเห็นว่า Perl CGI ทำงานช้าเกินไป จึงตัดสินใจเขียนโปรแกรมขึ้นใหม่ด้วยภาษา C โดยตั้งชื่อว่า Personal Home Page Tools (PHP-Tools) และแจกจ่ายโค้ดโปรแกรมแบบ Open Source และมีการเปิดให้ผู้ที่สนใจร่วมปรับปรุงและพัฒนา จนพัฒนาเป็น PHP/FI

     จากนั้น Zeev Suraski และ Andi Gutmans ได้ร่วมกันพัฒนาโค้ดขึ้นใหม่เป็น PHP3 ซึ่งได้เป็นที่นิยมอย่างมาก โดยมีการปรับปรุงด้านประสิทธิภาพ สนันสนุนการเขียนโปรแกรมแบบ OOP เป็นต้น

     และมีผู้ใช้งานมากขึ้น มีการนำไปใช้ในงานที่มีความซับซ้อน  Zeev Suraki และ Andi Gutmans จึงได้ทำการเขียนโค้ดขึ้นใหม่อีกครั้ง และตั้งชื่อว่า Zend Engine (ย่อมาจาก Zeev และ Andi) ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ PHP 4  ส่วน PHP 5 ก็ได้มีการพัฒนาการเขียนโปรแกรม OOP ให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

    PHP เป็น Server-Side Scripting language คือ มีการประมวลผลที่ฝั่ง Server แล้วจึงส่งผลลัพธ์มายังเครื่อง Client ในรูปแบบภาษา HTML ซึ่งมีผลดีก็คือลดภาระการทำงานของเครื่อง Client ลงเหลือแค่การแสดงผลลัพธ์เท่านั้น นอกจากนี้ PHP ยังมีความสามารถติดต่อกับ Database ต่างๆ เช่น MySql, Sql Server, Access เป็นต้น เป็นผลให้นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้มากมาย อาทิ เว็บบอร์ด, เว็บเมล์, หรือเก็บข้อมูลสินค้าของร้านค้าออนไลน์ต่างๆ เป็นต้น ด้วยความสามารถที่หลากหลาย ง่ายต่อการศึกษา เป็น Open Source ทำให้ PHP กำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซด์ส่วนบุคคลหรือแม้แต่องค์กรขนาดใหญ่ก็มีการนำ PHP ไปใช้งาน