Error
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1

If เป็นหนึ่งฟังก์ชันในโปรแกรม Excel ที่ใช้งานกันบ่อย ๆ เพื่อตรวจสอบค่าต่าง ๆ ตามเงื่อนไขที่ต้องการ บทความนี้เราจะมาแนะนำการใช้งานฟังก์ชัน if ใน Excel เบื้องต้นกัน

If เป็นหนึ่งฟังก์ชันในโปรแกรม Excel ที่ใช้งานกันบ่อย ๆ เพื่อตรวจสอบค่าต่าง ๆ ตามเงื่อนไขที่ต้องการ บทความนี้เราจะมาแนะนำการใช้งานฟังก์ชัน if ใน Excel เบื้องต้นกัน

ซึ่งฟังก์ชัน if นั้นใช้ในการเปรียบเทียบค่าของข้อมูลที่เราต้องการ ซึ่งจะให้ผลลัพธ์ออกมา 2 ค่า คือ เมื่อผลการเปรียบเทียบเป็นจริง และ เมื่อผลการเปรียบเทียบเป็นเท็จ ซึ่งค่าที่แสดงออกมาเราสามารถเป็นคนกำหนดเองว่าจะให้แสดงออกมาเมื่อเป็นจริง หรือ จะให้แสดงอะไรออกมาเมื่อผลเป็นเท็จ

รูปแบบของฟังก์ชัน if

IF (logical_test, value_if_true, [value_if_false])

ฟังก์ชัน if จะมีอากรูเมนต์ที่ต้องการ 3 ตัวคือ

logical_test คือ เงื่อนไขที่ต้องการตรวจสอบ (ต้องใส่)
value_if_true คือ ค่าที่จะแสดงออกมาถ้าเงื่อนไขที่ทำการตรวจสอบเป็นจริง (ต้องใส่)
value_if_false คือ ค่าที่จะแสดงออกมาถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ (ไม่ใส่ก็ได้)

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน if แบบง่าย

ถ้าอ่านมาถึงตรงนี้แล้วยังไม่เข้าใจ ไปดูตัวอย่างง่าย ๆ เพื่อให้เข้าใจการทำงานครับ สูตรดังภาพด้านล่าง จากสูตรนี้เราจะทำการตรวจสอบเซลล์ A2 ว่าเท่ากับ 10 หรือไม่ เราจะใส่เงื่อนไขการตรวจสอบตามสีม่วงว่า A2=10 และถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะให้แสดงข้อความตามสีเขียวคือ A2 เท่ากับ 10 และถ้าไม่เท่ากับ 10 จะให้แสดงข้อความตามสีแดงคือ A2 ไม่เท่ากับ 10

การใช้ฟังก์ชัน if ใน Excel เบื้องต้น

นอกจากเครื่องหมาย = แล้วเรายังสามารถใช้ตัวดำเนินการอื่น ๆ ในการตรวจสอบเงื่อนไขได้ดังนี้

ตัวดำเนินการ

ความหมาย

ตัวอย่าง

>

มากกว่า

A2 > 10

<

น้อยกว่า

A2 < 10

>=

มากกว่าหรือเท่ากับ

A2 >= 10

<=

น้อยกว่าหรือเท่ากับ

A2 <= 10

<>

ไม่เท่ากับ

A2 <> 10

ลองมาดูตัวอย่างการใช้ตัวดำเนินการต่าง ๆ กับฟังก์ชัน if อีกสัก 2 ตัวอย่าง เพื่อความเข้าใจกันนะครับ ตัวอย่างนี้

ตัวอย่างแรกการใช้ if อย่างง่าย ตัวอย่างนี้จะทำการเปรียบเทียบระหว่างเซลล์ A1 กับ B1 ว่าค่าไหนมากกว่า ถ้า A1 มากกว่าแสดงค่า A1 มากกว่า ถ้าไม่เป็นจริงแสดงค่า B1 มากกว่า ผลลัพธ์ดูได้จากภาพด้านล่าง จากนั้นให้ลองเปลี่ยนค่าใน A1 และ B1 ดูครับ และลองเปลี่ยนค่าให้เท่ากันดูครับว่าจะได้ผลอย่างไร

การใช้ฟังก์ชัน if ใน Excel เบื้องต้น

ตัวอย่างที่ 2 การใช้ if แบบใส่ค่าแค่กรณีที่เป็นจริง ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะแสดงค่าออกมาตามที่เรากำหนด แต่ถ้าเป็นเท็จคือ A น้อยกว่า B ก็จะแสดงค่า FALSE ออกมาเพราะเราไม่ได้กำหนดค่ากรณีเป็นเท็จดังภาพด้านล่าง

การใช้ฟังก์ชัน if ใน Excel เบื้องต้น

สำหรับบทความการใช้ฟังก์ชัน if ในโปรแกรม Excel ก็มีเพียงเท่านี้ ไว้บทความหน้าจะนำเสนอการใช้ที่ซับซ้อนขึ้นไปอีกขั้นครับ แล้วเจอกันบทความหน้าครับ

บทความที่เกี่ยวข้อง