Error
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • JLIB_APPLICATION_ERROR_COMPONENT_NOT_LOADING
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
  • Error loading component: com_content, 1
การตรึงแนวในโปรแกรม Excel หรือ Freeze Panes นั้นสามารถทำได้ง่าย ๆ เพียงไม่กี่คลิก ซึ่งการตรึงแนวนั้นมีประโยชน์มากในการใช้งานโปรแกรม Excel ที่มีข้อมูลเยอะ ๆ

การตรึงแนวในโปรแกรม Excel หรือ Freeze Panes นั้นสามารถทำได้ง่าย ๆ เพียงไม่กี่คลิก ซึ่งการตรึงแนวนั้นมีประโยชน์มากในการใช้งานโปรแกรม Excel ที่มีข้อมูลเยอะ ๆ และเราต้องการจะเห็นหัวตาราง หรือ ชื่อของคอลัมน์ตลอดเวลาเพื่อที่จะได้รู้ว่าข้อมูลที่เรากำลังดูอยู่นั้นคืออะไร

เริ่มต้นการตรึงแนวในโปรแกรม Excel หรือ Freeze

คำสั่งในการตรึงแนวในโปรแกรมนั้นอยู่ที่แท็บ View => Group คำสั่ง Window => Freeze Panes ซึ่งจะมีคำสั่งย่อยในการตรึงแนวทั้งหมด 3 คำสั่งด้วยกัน คือ Freeze Panes, Freeze Top Row และ Freeze First Column ซึ่งจะมีการใช้ตรึงแนวที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

การตรึงแนวด้วยคำสั่ง Freeze Panes

คำสั่ง Freeze Panes ตรึงแนวในตำแหน่ง Cell ที่เราวาง Cursor ไว้ ดังตัวอย่าง

ถ้าต้องการตรึงแนวแถวบนสุด (แถวที่ 1) ให้แสดงตลอดเวลา วาง cursor ไว้ที่ A2 แล้วเลือกคำสั่ง Freeze Panes

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

ถ้าต้องการตรึงคอลัมน์แรก (คอลัมน์ A) ให้วาง cursor ไว้ที่ B1 แล้วเลือกคำสั่ง Freeze Panes

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

ถ้าต้องการตรึงแถวแรกและคอลัมน์แรก (แถวที่1 และคอลัมน์ A) ให้แสดงตลอดเวลา ให้วาง cursor ไว้ที่ B2 แล้วเลือกคำสั่ง Freeze Panes

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

ถ้าต้องการตรึงหลายแถวแรกและหลายคอลัมน์แรกก็สามารถทำได้เช่นกัน ให้วาง cursor ไว้ที่ต้องการ แล้วเลือกคำสั่ง Freeze Panes ดังตัวอย่าง ตรึง 2 แถวแรก และ 2 คอลัมน์แรก

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

การตรึงแนวด้วยคำสั่ง Freeze Top Row

เป็นคำสั่งในการตรึงแนว ที่จะตรึงแถวบนสุดที่แสดงอยู่ในขณะนั้น โดยไม่สนใจตำแหนงของ cursor ว่าอยู่ที่ตำแหน่งไหน ดังตัวอย่าง

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

การตรึงแนวด้วยคำสั่ง Freeze First Column

เป็นคำสั่งในการตรึงแนว ที่จะตรึงคอลัมน์ซ้ายสุดที่แสดงอยู่ในขณะนั้น โดยไม่สนใจตำแหนงของ cursor ว่าอยู่ที่ตำแหน่งไหน ดังตัวอย่าง

การตรึงแนว excel แถวเดียว หลายแถว หรือ Freeze Panes

สำหรับบทความเรื่องการแนะนำการใช้คำสั่งตรึงแนวหรือ Freeze Panes ในโปรแกรม Excel ก็มีเพียงเท่านี้ครับหวังว่าจะเป็นประโยชน์นะครับ ไว้เจอกันบทความหน้าครับ

บทความที่เกี่ยวข้อง